#โป้งก้อยอิ่ม และหลักสูตรวิทยาการคำนวณ

โป้ง ก้อย อิ่ม คือชื่อตัวละครในหนังสือแบบเรียนวิชาวิทยาการคำนวณ ซื้อหนังสือได้ที่ pongkoiim.com/buy ลิขสิทธิ์ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เว็บไซต์นี้จัดทำโดยกลุ่มนักวิชาการที่ร่วมร่างหลักสูตรและหนังสือแบบเรียน เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา **ไม่ใช่ข้อมูลอย่างเป็นทางการ**

เอกสารอธิบายหลักสูตรวิทยาการคำนวณ

ท่านสามารถอ่านตัวชี้วัดของหลักสูตรได้ทั้งจากเอกสารที่เผยแพร่เป็นทางการ และเอกสารคู่มือครูของ สสวท
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
สรุปภาพรวมหลักสูตรและเปรียบเทียบตัวชี้วัดฯ:

More/อ่านต่อ ...

Dek-D: 9 เรื่องพ่อแม่ต้องรู้ เตรียมตัวลูกให้พร้อมเรียนวิชาเขียนโปรแกรม (วิทยาการคำนวณ) ปี 61

highlights: สัมภาษณ์ อาจารย์ม็อค – ผนวกเดช สุวรรณทัต นักวิจัยด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ศูนย์เสริมสร้างการเรียนรู้และการสอน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี หัวใจของเนื้อหาวิชานี้คืออะไร? computational thinking คืออะไร? การทยอยสอนปีละ 4 ชั้น เพื่อเรียนรู้และปรับตัว หลักสูตรมีความยืดหยุ่นและให้อิสระกับโรงเรียน ตำรามีคุณภาพสูง ปรับใช้ง่าย

More/อ่านต่อ ...

Dek-D: รู้จักวิชา “วิทยาการคำนวณ” วิชาบังคับใหม่ ที่เริ่มเรียนตั้งแต่ปี 2561 นี้

highlights: บทสัมภาษณ์ รศ. ยืน ภู่วรวรรณ (ม.เกษตรศาสตร์) และ อ. ผนวกเดช สุวรรณทัต (มจธ.) “คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีหรือเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ รอบตัวเรา จึงมิใช่แค่เครื่องมือในการประกอบอาชีพใดอาชีพหนึ่งเท่านั้นอีกต่อไป แต่ทุก ๆ คนต้องใช้เทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิต” (–

More/อ่านต่อ ...

Dek-D: วิทยาการคำนวณ คืออะไร? วิชาบังคับพื้นฐานใหม่ล่าสุดสำหรับเด็ก พร้อมบทสัมภาษณ์จากผู้ก่อตั้ง

Dek-D.com สัมภาษณ์​ รศ.ยืน ภู่วรวรรณ ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เผยแพร่เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2561 ตัวอย่างประเด็นสำคัญ: “เด็กที่เกิดในยุคดิจิตอลนั้นเขาก็จะเป็น DIGITAL NATIVE หมายความว่าไม่ใช่เรื่องยากสำหรับเขา ที่จะเรียนรู้หรือใช้คอมพิวเตอร์ได้เป็น” “ผมให้ความสำคัญกับเรื่องของวิทยาการคำนวณมาตั้งแต่ประมาณ 2510 กว่าๆ” วิทยาการคำนวณ

More/อ่านต่อ ...

video: อะไรคือ Computational Thinking?

งาน วทร. จัดโดย สสวท. บรรยายโดย ผนวกเดช สุวรรณทัต วันที่ 16 ตุลาคม 2560 ที่ BITEC บางนา อธิบายความคิดเชิงคำนวณ ด้วยตัวอย่างของการเรียกตุ๊กตาแม่ลูกดก สไลด์ประกอบการบรรยาย (PDF) : 171016 BITEC

More/อ่านต่อ ...

บทความ “ประชาพิจารณ์ หลักสูตร ict ของ สสวท” โดย รศ. ดร.​ พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า

ประเด็นหลัก keyword ของประถมต้น = “Unplugged” keyword ของประถมปลาย = “Daily” ซึ่งหมายถึงการใช้ ict กับชีวิตประจำวัน keyword ของ ม.ต้น = “primary data” keyword ของ

More/อ่านต่อ ...

ประกาศ และคำสั่งต่างๆ ของกระทรวงศึกษาธิการ

ประกาศอย่างเป็นทางการมีมาตั้งแต่ปี 2560 แล้ว สถานศึกษาจะอ้างว่าไม่รู้จักวิชาวิทยาการคำนวณไม่ได้นะครับ
คำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. 1239/2560 (7 ส.ค. 2560), 30/2561 (5 ม.ค. 2561), ประกาศ สพฐ. (8 ม.ค. 2561), คำสั่ง สพฐ​ 921/2561, 922/2561

More/อ่านต่อ ...

Photos from CS Teacher Training 2017

เชิญชมภาพบรรยากาศ การประชุมปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพวิทยากรแกนนำคอมพิวเตอร์ รุ่นที่ 4 ปีที่ 2 หลักสูตร Computing Science วันที่ 2 – 6 สิงหาคม 2560 จัดโดย สสวท. https://photos.app.goo.gl/WzXHVgbG3UPmCDy43 ตัวอย่างการบรรยายเรื่อง Computational Thinking (บรรยายรวมสำหรับครูประถมและมัธยม หลังจากนี้ส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมที่เน้นการลงมือปฏิบัติจริง)

More/อ่านต่อ ...

Students, Computers and Learning – Making the Connection (by OECD)

ควรมี computer ในห้องเรียนหรือไม่ ข้อมูลค่อนข้างเก่าจากปี 2015 แต่สามารถช่วยชี้ปัญหาและอุปสรรคที่มักพบในต่างประเทศได้เป็นอย่างดี และหลายปัญหาก็คล้ายกับประเทศไทย Links OECD page: http://www.oecd.org/publications/students-computers-and-learning-9789264239555-en.htm Slideshare: https://www.slideshare.net/OECDEDU/students-computersand-learningmaking-the-connection-andreas-schleicher-director-oecd-directorate-for-education-and-skills?ref=http://www.oecd.org/publications/students-computers-and-learning-9789264239555-en.htm Full report in PDF https://www.oecd-ilibrary.org/docserver/9789264239555-en.pdf summary article

More/อ่านต่อ ...